ข้นขนาดไหนถือว่าเลือดคน ๕๕๕ ความหมายมันคือกลุ่มคนที่ข้นด้วยความผูกพัน ไม่ใช่แค่ความสัมพันธ์ุ
ครอบครัว หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันแ
ในตำราเรียนบางเล่ม กล่าวว่า
สถาบันครอบครัว หมายถึง แบบแผนพฤติกรรมที่คนที่มาติ ดต่อเกี่ยวข้องกันในเรื่องเ กี่ยวกับครอบครัวและเครือญา ติจะต้องปฏิบัติตาม นั่นคือคนที่เป็นญาติกันโดยสายเลือด เช่น เป็นพ่อแม่ พี่น้องกัน เป็นญาติกันทางการแต่งงาน เช่น เป็นสามีภรรยา เป็นเขยสะใภ้กัน หรือการรับไว้เป็นญาติ เช่น เป็นบุตรบุญธรรม เป็นต้น คนเหล่านี้จะต้องปฏิบัติไปต ามกฎเกณฑ์แบบแผนที่สังคมเป็ นผู้กำหนดขึ้น เรียกว่า สถาบันครอบครัว ซึ่งครอบคลุมแนวทางในการปฏิ บัติในเรื่องต่างๆ เหล่านี้ คือ การเลือกคู่ การหมั้น การแต่งงาน การเลี้ยงดูลูก การอบรมขัดเกลา การหย่าร้าง และเรื่องที่เกี่ยวข้องกับค รอบครัวและเครือญาติทั้งหมด
ครอบครัวเป็นสิ่งที่ดีงาม เป็นแหล่งบ่มเพาะปลูกฝังคุณ ค่าต่างๆ ของสังคม
ในจำนวนที่มากขึ้นทุกปี มีครอบครัวจำนวนมากที่ไม่ได้ ‘ผูกพัน’หรือ ‘อยากใช้ชีวิตร่วมกัน’
ครอบครัวเป็นสิ่งที่ดีงาม เป็นแหล่งบ่มเพาะปลูกฝังคุณ
ในจำนวนที่มากขึ้นทุกปี มีครอบครัวจำนวนมากที่ไม่ได้ ‘ผูกพัน’หรือ ‘อยากใช้ชีวิตร่วมกัน’
ดังนั้น จึงไม่สามารถเรียกว่าครอบครัว
ในสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น คนมีนิยาม คำว่า ครอก อาจจะใช้แบบนี้ได้มั๊ง
จากรูปหมู่ที่ถ่ายร่วมกัน ที่จริงอาจมีนัยยะ ‘อำนาจ’ ซ่อนอยู่ใต้คว ามสัมพันธ์และกิจกรรมต่างๆ ของครอบครัวและคนในครอบครัว
ในภาวะปกติ เราอาจไม่รู้สึกถึงการทำงาน ของอำนาจเหล่านี้มากนัก แต่เมื่อถึงคราวคับขันสิ่งท ี่แต่ละคน แต่ละครอบครัว พยายามทำ ก็คือการ ‘ควบคุม’ กันและกันโดยใช้ฐานอำนาจหลา ยๆ แบบมาคัดง้างกัน
ที่จริงแล้ว การที่ตำราเรียนบอกว่า สถาบันครอบครัว เป็นแกนกลางของสังคมที่เป็น รากฐานสำคัญยิ่งต่อการดำรงช ีวิตในด้านหนึ่งต้องบอกว่าถ ูกต้อง
เพราะครอบครัวก็คือแบบจำลอง ของสังคม
เพราะครอบครัวก็คือแบบจำลอง
อำนาจในครอบครัวคือ ‘ความสามารถ’ ในการบริหารจัดการการควบคุม โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เป็ นกลไกบังคับ
บางคนไม่แสดงถึงอำนาจแต่ใช้ ว่าจะไม่รู้ #อะไร ในวังวนนั้นเลย
ความรู้เฉพาะ’ (specific knowledge) ในบางเรื่อง เป็นความรู้ที่คนอื่นๆ ในครอบครัวไม่รู้ คนที่รู้ข้อมูลนี้จะมีอำนาจ ในการควบคุมบังคับคนอื่น โดยอาจควบคุมบังคับอย่างเปิ ดเผยก็ได้ หรือจะใช้วิธีชักใยอยู่เบื้ องหลังก็ได้เช่นเดียวกัน
เด็กผู้หญิงจากชนเผ่า ในแอฟริกาใต้ แต่งงานอายุราวๆ สิบกว่าขวบ กับผู้ชายที่แก่กว่าเธอมาก การแต่งงานจะเกิดขึ้นโดยพ่อ แม่ของเด็กหญิงเป็นคนจัดการ เมื่อแต่งแล้ว เจ้าบ่าวต้องมาอยู่กับครอบค รัวเจ้าสาวเพื่อช่วยล่าสัตว ์หาอาหาร
การให้ฝ่ายชายมาอยู่ที่บ้าน ฝ่ายหญิง สิ่งที่เป็นตัวกำหนดสมดุลอำ นาจในครอบครัว เป็นพันธมิตรกันระหว่างพ่อแ ม่ลูกของเด็กหญิง กล่าวคือถ้าเด็กหญิงเป็นพัน ธมิตรกับพ่อแม่ ความสัมพันธ์ของพ่อแม่ลูกแข ็งแรง ฝ่ายชายก็จะมีอำนาจในครอบคร ัวน้อยลง จึงเกิดสมดุลอำนาจขึ้นถึงขั ้นที่เด็กหญิงสามารถ ‘วีโต้’ การตัดสินใจต่างๆ ในครอบครัวได้เลย
เรื่องนี้ไม่เหมือนกับครอบค รัวชาวจีนแบบดั้งเดิม
หลายคนอาจรู้สึกว่าระบบของค รอบครัวจีนนั้นแลดูกดขี่ผู้ หญิง แต่ในอีกด้านหนึ่ง แม่สามีก็เคยเป็นภรรยาที่ถู กกดขี่มาก่อน #หญิงที่มาเป็นสมาชิกใหม่มี การทดสอบและขัดเกลาเพื่อให้ ผู้หญิงที่มาใหม่ต้อง conform กับระบบความเชื่อของครอบครั วใหม่#แต่เมื่อเวลาผ่านไป เธอจะค่อยๆ ทวีอำนาจมากขึ้นเรื่อยๆ จนเข้ามาแทนที่แม่สามีในที่ สุด
หลายคนอาจรู้สึกว่าระบบของค
มันคือการสร้างพันธมิตรกับพ ่อแม่ (Parent-Child Alliances) น้อยมาก แตกต่างจากเด็กหญิงแอฟริกาท ี่โครงสร้างครอบครัวบีบให้พ ่อแม่และเด็กหญิงต้องรักษาค วามเป็นพันธมิตรกันเอาไว้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น